รวมท่าออกกำลังกายเพื่อแก้อาการข้อไหล่ติด การรักษาอาการปวดข้อไหล่ หรือการออกกำลังกายข้อไหล่ ประกอบด้วย การรักษาอาการทั่วไป เมื่อเริ่มมีอาการปวด โดยเริ่มจากพักการใช้ข้อไหล่ งดการเคลื่อนไหวของไหล่ข้างที่มีอาการ รับประทานยาแก้ปวด หรือรักษาด้วยกายภาพบำบัด โดยประคบไหล่ด้วยถุงน้ำแข็ง วันละ 2-3 ครั้ง ครั้งละ 15-30 นาทีในกรณีที่มีอาการปวดรุนแรง ปวดเฉียบพลันเพื่อบรรเทาอาการปวด และประคบร้อนในกรณีที่อาการปวดไม่รุนแรง หรือมีข้อไหล่ติดเพื่อช่วยในการไหลเวียนของเลือด
“ยกแขนไม่ขึ้นสัญญาณเตือน ภาวะข้อไหล่ติด” Checklist คุณมีสัญญาณของภาวะข้อไหล่ติดในระดับไหน? ระดับที่ 1 ระยะอักเสบ ปวดและตึงทั่วข้อไหล่ ปวดมากขณะยกข้อไหล่เพียงเล็กน้อย ปวดมากในเวลากลางคืน ปวดเวลานอนทับหัวไหล่ ปวดต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 2-5 เดือน ระดับที่ 2 ระยะยึดติด อาการปวดจะเริ่มดีขึ้น ความสามารถในการเคลื่อนไหวข้อไหล่ จะลดลงอย่างชัดเจน เริ่มมีปัญหาการใช้งาน ในชีวิตประจำวัน ต่อเนื่อง 4-12 เดือน ระดับที่ 3
ภาวะข้อไหล่ติด (Frozen shoulder) เกิดจากถุงหุ้มข้อไหล่เกิดการอักเสบ การยึดติด และมีสร้างแถบเนื้อเยื่อที่ผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดไหล่ และขยับข้อไหล่ได้น้อยลง โดยอาการหลักๆ คือ ไม่สามารถยกแขนได้สุด หากยกแขนจนถึงระดับเกือบเต็มที่จะรู้สึกปวด โดยอาการข้อไหล่ติดจะเกิดทุกทิศทางในการเคลื่อนไหว ทั้งไปข้างหน้า ด้านข้าง หรือข้างหลัง ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการใช้ชีวิตประจำวัน สาเหตุของข้อไหล่ติด สาเหตุของโรคไหล่ติดยังไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจาก
ข้อไหล่ของเราประกอบไปด้วยกระดูก 3 ชิ้น คือ กระดูกต้นแขน กระดูกสะบัก และกระดูกไหปลาร้า มาประกอบกันเป็นข้อ ข้อไหล่เป็นข้อที่มีการเคลื่อนไหวได้มากที่สุดในร่างกาย และเป็นข้อที่ถูกใช้งานมาก จึงทำให้มีปัญหาได้ อาการปวดไหล่เกิดได้จากหลายสาเหตุ เป็นได้ตั้งแต่เด็กจนโต สาเหตุของการปวดไหล่ที่พบบ่อยมีดังนี้ ในวันเด็กและวัยรุ่น อาการปวดไหล่มักจะมีสาเหตุมาจากการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ในวัยหนุ่มสาว อาการปวดไหล่มักมีความสัมพันธ์กับการใช้ข้อไหล่ทำงานอย่างมากทำให้มีการเสียดสีและอักเสบของเอ็น และกล้ามเนื้อบริเวณรอบ ๆ ข้อไหล่ ในวัยกลางคนและวัยสูงอายุ อาการปวดไหล่มักมีสาเหตุมาจากการเสื่อม อันเป็นผลมาจากการใช้ข้อไหล่ทำงานมาก ข้อไหล่อักเสบ เป็นผลมาจากโรคข้ออักเสบที่มีข้อไหล่อักเสบร่วมด้วยได้